กรณีศึกษา
CASE STUDY KNOWLEDGE

1611553109000
การเสริมกำลังรอยร้าวบนพื้นยื่นที่เกิดจากการเสริมเหล็กไม่เพียงพอ ด้วยคาร์บอนไฟเบอร์ และการซ่อมแซมรอยร้าวที่เกิดจากการหดตัวแบบแห้งของคอนกรีต (Dry Shrinkage)
รอยร้าวที่เกิดขึ้นในบริเวณอาคาร เป็นปัญหาที่สามารถพบเห็นได้ทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นรอยร้าวบริเวณท้องพื้น คาน หรือเสา สิ่งที่แรกที่เราควรทำ คือ การให้ทีมผู้เชี่ยวชาญ เข้าทำการสำรวจและประเมินสาเหตุของความเสียหาย เพื่อสามารถแก้ไขได้ถูกจุดและตรงตามวัตุประสงค์ของการใช้งาน

1610958816000
งานเสริมกำลังระบบพื้นคอนกรีตอัดแรง (Post-Tensioned) เพื่อแก้ปัญหาลวดอัดแรงขาด ด้วยวัสดุคาร์บอนไฟเบอร์ (SmartFiber Sheet UT70-30)
ในปัจจุบัน ความต้องการในการเปลี่ยนลักษณะการใช้งานของอาคาร ความต้องการเพิ่มน้ำหนักบรรทุกจร (Live Load) การเปิดช่องพื้นเพิ่ม หรือแม้กระทั่งการเสื่อมสภาพของโครงสร้าง มักเกิดขึ้นได้และพบเห็นอยู่บ่อยครั้ง

1610597951000
เทคนิคการออกแบบงานเสริมกำลังพื้น "ระบบพื้นคอนกรีตอัดแรง" (Post-Tensioned) เพื่อแก้ปัญหาลวดอัดแรงขาด ด้วยวัสดุคาร์บอนไฟเบอร์ (SmartFiber Sheet UT70-30)
ด้วยระบบของพื้นโพสเทนชั่นหรือระบบพื้นไร้คาน สามารถสร้างอาคารที่มีช่วงห่างของเสาได้ยาวและไม่มีคานระหว่างเสา จึงทำให้สามารถเพิ่มจำนวนชั้นของอาคารได้มากขึ้นเมื่อเทียบกับพื้นแบบ RC Slab และมีประสิทธิภาพในการจัดพื้นที่ภายในได้สะดวกกว่าและไม่มีข้อจำกัด เพราะมีเสาที่น้อยกว่าและไม่มีคานมาเป็นข้อจำกัด อีกทั้งยังช่วยลดต้นทุนและระยะเวลาในการก่อสร้างได้อีกด้วย จึงทำให้ปัจจุบัน การเลือกใช้พื้นในระบบ Post-Tension Slab จึงเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง

1604146215000
การซ่อมรอยร้าวพื้นคอนกรีตด้วย Epoxy Injection
ในตอนที่แล้ว Mr.Smart ได้พูดถึงวิวัฒนาการของคาร์บอนไฟเบอร์ (Carbon Fiber) ไปแล้ว จะเห็นได้ว่าด้วยคุณสมบัติที่แข็งแรง และ เบา ไม่เป็นสนิม ทนเคมีได้ดี ทำให้คาร์บอนไฟเบอร์ถูกนำไปใช้ใน วงการอุตสาหกรรมมากมาย ได้แก่

1600434246000
ตอนที่ 3 : การพัฒนาและการประยุกต์ใช้งานคาร์บอนไฟเบอร์ (Carbon Fiber)
ในตอนที่แล้ว Mr.Smart ได้พูดถึงวิวัฒนาการของคาร์บอนไฟเบอร์ (Carbon Fiber) ไปแล้ว จะเห็นได้ว่าด้วยคุณสมบัติที่แข็งแรง และ เบา ไม่เป็นสนิม ทนเคมีได้ดี ทำให้คาร์บอนไฟเบอร์ถูกนำไปใช้ใน วงการอุตสาหกรรมมากมาย ได้แก่

1600430503000
ตอนที่ 2 : วิวัฒนาการของคาร์บอนไฟเบอร์ (Carbon Fiber)
ตอนที่ 1 : คาร์บอนไฟเบอร์(Carbon Fiber) คืออะไร?
วันนี้ Mr.Smart จะมาแนะนำให้เพื่อนๆได้รู้จักกับ วัสดุวิศวกรรมอีกประเภทหนึ่ง ที่มีชื่อเรียกว่า
“ คาร์บอนไฟเบอร์ ” (Carbon Fiber) กันครับ

1600167131000
มาทำความรู้จัก “ คาร์บอนไฟเบอร์ ” (Carbon Fiber) กันครับ
ตอนที่ 1 : คาร์บอนไฟเบอร์(Carbon Fiber) คืออะไร?
วันนี้ Mr.Smart จะมาแนะนำให้เพื่อนๆได้รู้จักกับ วัสดุวิศวกรรมอีกประเภทหนึ่ง ที่มีชื่อเรียกว่า
“ คาร์บอนไฟเบอร์ ” (Carbon Fiber) กันครับ

1599029911000
“ ซ่อมแซมรอยร้าวเสาด้วย Epoxy Injection และเสริมกำลังเสาคอนกรีตเพื่อรับน้ำหนักบรรทุกเพิ่มด้วยคาร์บอนไฟเบอร์ (Carbon fiber) ”
โครงสร้างเสาคอนกรีตเสริมเหล็กเป็นโครงสร้างที่สำคัญอย่างยิ่งของอาคาร เสาเมื่อรับน้ำหนักบรรทุกไม่ไหวจะเกิดการโก่งเดาะ โดยคอนกรีตช่วงกลางเสาจะระเบิดออกและเหล็กเสริมจะมีการหักงอได้ เมื่อเสาโก่งเดาะจะสร้างรอยร้าวบริเวณด้านที่ถูกดัดออกคือด้านที่โก่งตัวออก และเกิดรอยร้าวขึ้นเป็นปล้องๆ จากด้านที่โก่งเดาะดังนี้

1599025865000
“ กรณีศึกษา : การยิง พียูโฟม ซ่อมแท้งค์คอนกรีตรั่วซึมบริเวณ Form ties ”
แท้งค์เก็บน้ำเสียคอนกรีตขนาดใหญ่เกิดการรั่วซึมในตำแหน่งฟอร์มไท (Form ties) จำนวนมากกว่า 100 จุด
บริษัท สมาร์ท แอนด์ ไบรท์ จำกัด ได้ส่งทีมงานผู้เชี่ยวชาญไปดำเนินการซ่อมการรั่วซึมบริเวณฟอร์มไท (Form ties Leak Stop) โดยวิธีอัดฉีดพียูโฟม
หยุดน้ำหรือที่เรียกว่า PU Foam Injection (Smartfoam PU241) โดยมีขั้นตอนการทำงานดังนี้คือ
02 736 9555

(Auto 10 Lines)


